ทิศทางข้าวจังหวัดสงขลา ต่อยอดการทำนาอินทรีย์เชื่อมคนในได้กิน เป็นทางเลือกให้ผู้บริโภค
เวลา 13.00 น วันที่ 10 กันยายน 2557 เครือข่ายเกษตรทางเลือก ภัยพิบัติ ห้องเรียนท้องนา ศูนย์ข้าวชุมชนตำบลควนรู ร่วมกับมูลนิธิชุมชนสงขลา พูดคุย โครงการบูรณาการสุขภาพอนามัยภาคประชาชนจังหวัดสงขลา :งานพัฒนานโยบายสาธารณะวิสาหกิจชุมชนสงขลาประเด็นข้าว
เพื่อสำรวจความสนใจของเครือข่าย เพื่อต่อยอดเรื่อง การทำนาข้าว และเชื่อมตลาด ซึ่งชาคริต โภชะเรือง ชี้แจงว่า ขณะนี้มูลนิธิชุมชนสงขลา กำลังทำเรื่องฐานข้อมูล และการตลาดเรื่องข้าว
ถ้าแต่ละกลุ่มทำข้อมูลออกมาได้ว่าเรามีเท่าไร่ ชุมชนกินเท่าไร่ และถ้าต้องการตลาด แบบไหนถึงจะเหมาะสม อาทิ ทำตลาดออนไลน์ ไม่ต้องสต๊อกสินค้า
เราสามารถมาเป็นหุ้นส่วน ลงขันร่วมกันได้ เชื่อมโยงหอการค้าเข้ามาร่วม ตรงนี้เราเรียกตลาดล่วงหน้า ที่เราจะควบคุมการผลิตได้
เราเน้นการทำนาข้าวอินทรีย์ มาหนุนช่วยการรวมกลุ่ม และเพิ่มรายได้ให้เกษตรกร แล้วต่อยอดเป็นผลิตภัณฑ์
สุวินัย หนูยิง จากชาวนาจากตำบลจะทิ้งพระ อำเภอสทิ้งพระ จังหวัดสงขลาทำเกษตรอินทรีย์ หลังจากประสบปัญหาเรื่องสุขภาพจึงไปศึกษาแนวธรรมชาติบำบัด ได้พบหมอเขียว ใจเพชร อาจารย์ภานุ พิทักษ์เผ่า แล้วมาปรับเปลี่ยนพฤติกรรมมา 10 กว่าปี
แต่เดิมวินัยทำงานที่ตะวันออกกลาง มีความเจ็บป่วย จนแพทย์แผนปัจจุบันระบุว่าต้องกินยาตลอดชีวิต หลังเข้าอบรม ก็มาทำเกษตรอินทรีย์ปี 2553 ปลูกผัก ข้าว และคิดเรื่องผลิตภัณฑ์ขึ้นมาด้วยตัวเอง
อย่างน้ำไซเดอร์ เนื่องจากปัจจุบันนี้น้ำเป็นกรด มีการใช้คอรัส สารส้ม หรือการกรองทำให้น้ำสะอาด แต่สุดท้ายน้ำที่ได้มาก็ไม่มีประโยชน์ต่อสุขภาพมากแล้ว
โรคร้ายต่างๆ จะพัฒนาในภาวะที่ร่างกายเป็นกรดนี่เอง ดังนั้นเราต้องเพิ่มความเป็นด่าง ด้วยกันไปปรับค่าให้ร่างกายเราสมดุลขึ้น
อย่างที่ผมทำไซเดอร์เวนิกา ทำจากน้ำส้มสายชูหมักผลไม้ เอามาปรับค่า ph ให้ตรงกับน้ำย่อยเรา ถ้าเรากินให้ตรงกับที่เรามีเราจะอายุยาวขึ้น
ผลิตภัณฑ์ไซเดอร์นี้ทำจากลูกโหนดสุก เมื่อสุกแล้วหมดค่า เป็นอาหารวัว วินัยจึงส่งให้มอ.วิจัยพบว่า มีเบต้าคาโรทีน กรดอซิติก ละลายหินปูนได้ฯ
น้ำส้มหมักไว้กินปรุงอาหาร ไม่ควรแช่ตู้เย็นและความร้อน นำไปปรุงอาหารดูแลผู้ป่วย
สำหรับข้าววินัยทำนาพันธุ์ข้าวพื้นเมืองทิ้งพระ เป็นพันธุ์ยายอ เป็นข้าวนิ่มใช้เวลาทำข้าว 150 วัน การที่ข้าวอยู่ในนานานจะมีคุณสมบัติต้านทานโรคสูง
แรกๆ วินัยใช้ทฤษฏีแกล้งดิน เพราะดินที่สทิ้งพระมีสภาพเป็นกรด สาเหตุที่ทำให้รรุนแรงเช่นนี้เพราะใช้เคมี วินัยใช้เครื่องมือซอยเทส ไม่ว่านาข้าวหรือผลไม้ มีการใช้ปุ๋ยโดโรไม ทำดินให้เป็นกลางจะไม่ต้องใช้ปุ๋ยมาก
ถ้าดินไม่เป็นกรดมาก ดินจะดึงปุ๋ยไปใช้ได้เร็ว ถ้าปรับดิน ดีกว่าใส่ปุ๋ยมาก เมื่อรู้ค่าดินก็คำนวนปูนขาวลงไปเลย หลังใส่ปูนขาว 1 เดือนดินก็เป็นกลางแล้ว ซึ่งดินแบบนี้พืชต้องการ
พันธุ์ข้าวอื่นๆ มีข้าวเหมะ เฮี้ยว หอมจันทร์ เมืองเจ้าพระยา ที่ดิน 1 ไร่ วินัยผลิตได้ 700-800 กิโลกรัม ตอนนี้เขามีที่ที่จะเปลี่ยนจากนาปาล์มมาเป็นนาข้าวอีก 70 ไร่
ลลิตา บุญช่วย ทำนาหว่านที่ตำบลบ่อแดง อำเภอสทิ้งพระ จังหวัดสงขลามา 6 ปีแล้ว เธอเล่าว่า ใช้ปุ๋ยอินทรีย์ 5 ไร่ 7 สายพันธุ์ ข้าวหอมกระดังงา หอมจำปา หอมมะลิแดง หอมปทุม เขี้ยวงู หอมนิล เฉี้ยง
ในที่นาเลี้ยงปลา เป็ด ด้วยการใช้รำ หยวกให้กิน ทำปุ๋ยหมักน้ำ พันธุ์ข้าว ที่บ่อแดงมีตาจวนเป็นผู้เก็บสายพันธุ์ข้าว แล้วนำมาขยายพันธุ์กันเอง
มีการทำร่วมกันหลายพื้นที่ ตรงนี้ทำกันในพื้นที่โซนคาบสมุทรในนามเครือข่ายเกษตร
พื้นที่ทีทำมาแล้วพัฒนาต่อ ควบคู่ไปกับพื้นที่ที่เพิ่งเริ่มเรียนรู้ไปด้วยกัน เริ่มจากบ้านละ 1-2 ไร่ก่อนก็ได้ ทำให้เห็นจริง เริ่มจากปรับสภาพดิน ปีแรกอาจแค่ได้กินเพราะพื้นที่นาใช้เคมีมานาน
สมนึก นุ่นด้วง ศูนย์ข้าวชุมชน ตำบลควนรู้ เล่าถึงการพลิกฟื้นผืนนาที่ฟื้นฟูวิถีชีวิตผู้คน จากการที่คนรุ่นใหม่ลุกขึ้นมาทำนาที่รัตภูมิ วัฒนธรรมการให้ข้าวใหม่คืนกลับมาให้เขาอีกครั้งในปีที่ผ่านมา แม้ว่าจะเป็นพันธุ์ข้าวไร้เบอรี่ก็ตาม
การทำนาจะทำแบบค่อยเป็นค่อยไปเมื่อปรับค่าดินได้ผลผลิตก็จะเพิ่มขึ้น ทำเองกินเองสุขภาพก็ดีขึ้น หากทำแล้วสร้างรายได้ด้วยครอบครัวก็พึ่งตัวเองได้ และยังเป็นทางเลือกให้ผู้บริโภคด้วย นี่คือทิศทางการทำข้าวของชาวนาและเครือข่ายทั้ง 28 คนในวันนี้
โดย Pavinee Chaipark
Relate topics
- "Platform GreenSmile""Platform GreenSmile
- เครือข่าย SGS - PGS สงขลา ลงตรวจแปลงรอบที่สาม วันแรกเพื่อสุขภาพของประชาช
- พัฒนาศักยภาพทีมเยี่ยมบ้านเครือข่าย พชอ.หาดใหญ่"พัฒนาศักยภาพทีมเยี่
- เครือข่ายพลเมืองอาสากระบี่ ลงพื้นที่เยี่ยมบ้านพื้นที่อำเภออ่าวลึก เพราะเราจะไม่ทอดทิ้งใครไว้ข้างหลัง"เครือข่ายพลเมืองอาส
- ตลาดโรงพยาบาลหาดใหญ่กรีนสมาย เปิดวันศุกร์ ที่ 13 ธ.ค. 62ตลาดโรงพยาบาลหาดใหญ่
- งานกีฬาสานสัมพันธ์สายใยรักคนพิการจังหวัดตรัง ครั้งที่ 2ขอเชิญชวนคนพิการทุกท
- ตัวชี้วัดคุณภาพชีวิตรายบุคคลนัดแกนนำพมจ. สสจ. อบ
- ก้าวข้ามข้อจำกัดในการดูแลผู้สูงอายุและกลุ่มเปราะบาง๕-๗ สค.นี้ กขป.เขต๑๑
- ๒ กย. ดีเดย์นัดส่งผลผลิตอาหารปลอดภัยสู่ครัว รพ.หาดใหญ่วันนี้เครือข่ายเกษตร
- บูรณาการข้อมูลรายบุคคลระดับอำเภอยกระดับอีกก้าวสำหรับ
- การประสานการขับเคลื่อนเป็นสิ่งสำคัญชัดเจนมากขึ้นทุกวัน.
- รูปแบบการดูแลคนยากลำบากและเปราะบางทางสังคมจากสภาพปัญหาการทำงาน
- ระบบเยี่ยมบ้านงานข้อมูลควรทำเป็นกร
- ศูนย์สร้างสุขชุมชน อบต.ทับช้างทับช้างเป็นตำบลเล็กๆ
- ระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ ผู้สูงอายุกองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพ
- เครือข่ายท้องถิ่นสงขลาร่วมปักธงจัดทำธรรมนูญตำบลน่าอยู่"เครือข่ายท้องถิ่นสง
- iMed@home เครื่องมือเสริมพลังนโยบายสาธารณะยุคดิจิทัล"iMed@home" ยุคดิจิต
- งานวันพลเมืองสงขลา งานวันพลเม
- เปิดตัว Hatyai Go Green ที่ Green Zone@Green Wayหลายปีก่อนมูลนิธิชุม
- เปิดตัวแอพ iMed@Home สำหรับเครือข่ายเยี่ยมบ้านคนพิการ/ผู้สูงอายุ/ผู้ป่วยเรื้อรังข่าวดีสำหรับเครือข่า
- เทศบาลตำบลย่านตาขาวกองสาธารณสุขเทศบาลตำ
- คืนความสุขคนพิการกองสาธารณสุขเทศบาลตำ
- บันทึกฐานข้อมูลคนพิการเข้าบันทึกข้อมูลไม่ไ
- สมาชิกใหม่รายงานตัวครับผมยินดีที่ได้ร่วมงานคร
- คืนความสุขให้คนพิการ จัดโดยสำนักงาน พมจ.ตรังนายสายัณห์ อินทรภักด
- พัฒนาศักยภาพกลไกสุขภาวะจังหวัดปัตตานีจัดงาน พัฒนาศักยภาพ
- เวทีเตรียมงานเก็บข้อมูลคนพิการนาโยงใต้ ตรังกิจกรรมวันนี้ที่ นาโ
- โครงการบริการสุขภาพผู้สูงอายุ ผู้ป่วยเรื้อรัง และผู้พิการที่บ้านโครงการบริการสุขภาพผ
- ร่วมด้วยช่วยกัน "พัฒนางานคนพิการในเขตเมืองหาดใหญ่"งานร่วมพัฒนาระบบสุขภ
- งานดูแลคนพิการในพื้นที่เทศบาลนครหาดใหญ่ในปี 58ขยับงานดูแลคนพิการใน
- เวที "วัฒนธรรมการใช้ข้อมูลเพื่อการเปลี่ยนผ่านของสังคมไทย"สสส. ได้ชวนคนทำงานข้
- มติสมัชชาสุขภาพจังหวัดตรัง คุณภาพชีวิตคนพิการจังหวัดตรัง โดยภาคีเ
- เวทีแลกเปลี่ยนและร่วมถอดบทเรียนการขับเคลื่อนงานประเด็นคนพิการ(ตรัง-สงขลา)สมัชชาสุขภาพจังหวัดต
- ใช้ Video Chat ช่วยคนตาบอดได้ทั่วโลกด้วย Be My Eyes applicationWritten by Unlockme
- เวทีรับฟังความคิดเห็น(ร่าง)มติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติครั้งที่ึ7วันที่ 27 พฤศจิกายน
- เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้การสร้างสุขภาพแบบมีส่วนร่วมผ่านกองทุนสุขภาพระดับพื้นที่ จังหวัดปัตตานีวันที่ 21 พฤษจิกายน
- ประชุมชี้แจงสร้างความเข้าใจ/บันทึกความร่วมมือวันที่ 20 พฤษจิกายน
- จัดอบรมทักษะผู้นำเยาวชนกับการนำเครื่องมือพระราชบัญญัติเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และกฎหมายที่เกี่ยวข้องเครือข่ายประชาคมงดเห
- ประชุมเพื่อขับเคลื่อนกลไก สมัชชาสุขภาพจังหวัดยะลาเมื่อวันที่ 10 ตุลาค